วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ขั้นตอนการทำแมโครในไมโครชซอฟต์เวิร์ก


1.ไปที่ START หาคำว่า PROGRAMS คลิกเข้าไปเลือก Microsoft Office เลือก Microsoft Office word 2003 คลิกเข้าไป




2.จะเห็นหน้าต่าง Microsoft Office word



3.เลือกคำสั่ง เครื่องมือ เลือก แมโคร คลิก บันทึกคำสั่งแมโครงใหม่




4.จะเห็น ตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆขึ้นมาบนหน้าจอ





5.คลิกที่ รูปแป้นพิมพ์
6.จะเห็นตารางขึ้นมาอีก


7.จากนั้นใส่คำสั่ง กดแป้นพิมพ์ลัดใหม่



8. ใส่คำสั่ง Ctrl +a แล้วแต่เราจะใส่คำสั่งอะไรลงไป




9.คลิกปิด ก็จะปรากฎรูปการบันทึกขึ้นมา บันทึกคำสั่งลงไปแล้วคลิกที่รูปการหยุดบันทึก



10. ในที่นี้จะบันทึกการใส่ตัวหนา ขีดเส้นใต้ เปลี่ยนตัวอักษร ใส่สี (แล้วแต่เราจะบันทึกอะไรลงไป)




11.จะเกิดคำสั่งที่เราบันทึกไว้ขึนมาเมื่อเราต้องการใช้คำสั่งนั้น

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

คำสั่งเบื้องต้นของภาษาC

1. ฟังก์ชัน getchar() และ getch()
รูปแบบ



ฟังก์ชัน getchar() จะรับตัวอักษร 1 ตัวที่ป้อนทางแป้นพิมพ์ และจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่ ฟังก์ชัน getch() จะคล้ายกับฟังก์ชัน getchar() ต่างกันตรงที่จะไม่แสดงตัวอักษรขณะป้อนข้อมูล ฟังก์ชัน getchar() และ getch() กำหนดในไฟล์ conio.h ดังนั้นจะต้องระบุไฟล์ดังกล่าวในโปรแกรม แป้นพิมพ์ และจะแสดงตัวอักษรบนจอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จไม่ต้องกด Enter และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่
ตัวอย่าง
#include

void main()
{ char ch;
printf("Type one character ");
ch = getchar();
printf("The character you type is %c \n",ch); printf("The character you typed is ");
getchar(ch);
}
การใช้ฟังก์ชัน putchar() แทน printf() จะพิมพ์ตัวอักษร 1 ตัว และเคอร์เซอร์จะไม่ขึ้นบรรทัดใหม่
2. ฟังก์ชัน gets
รูปแบบ


ฟังก์ชัน gets() ใช้สำหรับข้อมูลชนิดสตริงก์หรือข้อความซึ่งป้อนทางแป้นพิมพ์

3. ฟังก์ชัน scanf()
รูปแบบ


เมื่อโปรแกรมทำงานถึงฟังก์ชันนี้จะหยุดเพื่อให้ป้อนข้อมูล โดยข้อมูลที่ป้อนจะแสดงบนจอภาพ เมื่อป้อนข้อมูลเสร็จกด Enter ข้อมูลทั้งหมดจะเก็บในตัวแปร var ชนิดของข้อมูลที่กำหนดให้กับตัวแปร var จะถูกกำหนดโดยตัวกำหนดชนิดข้อมูลซึ่งระบุในส่วนของ format code ตัวกำหนดชนิดข้อมูลของฟังก์ชัน scanf() จะเหมือนกับของฟังก์ชันprintf() ฟังก์ชัน scanf() จะทำให้เคอร์เซอร์ ขึ้นบรรทัดใหม่หลังจากกด Enter
ตัวอย่าง
#include "stdio.h"
#include "conio.h"

main()
{
int a,b,c;
clrscr();
printf("Enter three integer numbers : ");
scanf("%d%d%d",&a,&b,&c);
printf("a = %d b = %d c = %d \n",a,b,c);
}
เป็นการป้อนเลขจำนวนเต็ม 3 ตัวให้กับตัวแปร a,b และ c ในการป้อนตัวเลขให้เว้น ช่องว่างระหว่างตัวเลขแต่ละชุดซึ่ง scanf() จะข้อมช่องว่างไปจนกระทั่งพบตัวเลขจึงจะอ่านข้อมูลอีกครั้ง
4.ฟังก์ชัน int
รูปแบบ




ใช้แสดงข้อมูลที่เป็นเลขจำนวนเต็มฐานสิบ

5.ฟังก์ชัน clrscr()
รูปแบบ clrscr();
ใช้ล้างหน้าจอ

ประวัติความเป็นมาของภาษา C

ประวัติความเป็นมาของภาษา C
ภาษาซีเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1972 โดย Dennis Ritchie แห่ง Bell Labsโดยภาษาซีนั้นพัฒนามาจาก ภาษา B และจากภาษา BCPLซึ่งในช่วงแรกนั้นภาษาซีถูกออกแบบให้ใช้เป็นภาษาการเขียนโปรแกรมในระบบ UNIX และเริ่มมีคนสนใจมากขึ้นในปี ค.ศ.1978 เมื่อ Brain Kernighan ร่วมกับ Dennis Ritchie พัฒนามาตรฐานของภาษาซีขึ้นมา คือ K&R (Kernighan & Ritchie) และทั้งสองยังได้แต่งหนังสือชื่อว่า "The C Programming Language" โดยภาษาซีนั้นสามารถจะปรับใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์รูปแบบต่างๆได้ต่อมาในช่วง ปี ค.ศ.1988 Ritchie และ Kernighan ได้ร่วมกับ ANSI (American National Standards Institute) สร้างเป็นมาตรฐานของภาษาซีขึ้นมาใหม่มีชื่อว่า"ANSC"
ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของ ภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร
จุดเด่นของภาษา C ในปัจจุบันภาษา C ได้รับการยอมรรับและใช้งานกันอย่างกว้างขวาง ซึ่งน่าจะเป็นสาเหตุมาจากภาษา C เป็นภาษาที่มีการกำหนดมาตรฐานสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกรุ่น [IBM PC, Mac, …] และระบบปฎิบัติการทุกชนิด [Windows, Unix, Linux, …] ทำให้โครงสร้างทางภาษา ฟังก์ชันและไลบราลี[Library] ต่างๆสามารถนำไปใช้งานระหว่างเครื่องแต่ละรุ่นและระบบปฏิบัตการแต่ละชนิดได้ ปัจจุบันนี้มีการพัฒนาตัวแปลภาษา C ขึ้นมา สำหรับใช้กับเครื่องทุกรุ่น และระบบปฏิบัตการทุกชนิด ดังนั้นไม่ว่าจะใช้เครื่องรุ่นใด และใช้ระบบปฏิบัติการชนิดใดก็ตาม ก็สามารถเขียนโปรแกรมภาษา C ได้

วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ประวัติส่วนตัว

ชื่อ นางสาวสายสุนีย์ นามสกุล โสรัตน์

ชื่อเล่น : สาย

กำลังศึกษาที่ : วิทยาลัยเทคนิคราชบุรี
ชั้น : ปวช 2/3 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

E-mail : saisunee.sorat@gmail.com
E-mail: sai_zone@windowslive.com